ReadyPlanet.com
dot
ประมวลกฎหมาย
dot
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletพระราชบัญญัติ
bulletความรู้กฎหมาย
bulletสำนัก,ทนาย,ทนายความ
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletปรึกษากฎหมาย
bulletวิชาชีพทนายความ
bulletข้อบังคับสภาทนายความ
bulletคำพิพากษาฎีกา
bulletเช่าซื้อขายฝากซื้อขาย
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletเกี่ยวกับ วิ.แพ่ง
bulletคดีเกี่ยวกับวิ.อาญา
bulletคำพิพากษารวม
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletการสิ้นสุดการสมรส
bulletการใช้กฎหมายอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
dot
Newsletter

dot




ข้อ 9 วิธีการคัดค้านกรรมการสอบสวน

 ข้อ 9 การคัดค้านผู้ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสอบสวน ให้ทำเป็นหนังสือยื่นต่อกรรมการสอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันรับทราบคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน หรือวันทราบเหตุแห่งการคัดค้าน โดยแสดงข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุแห่งการคัดค้านไว้ในหนังสือคัดค้านด้วยว่า จะทำให้การสอบสวนไม่ได้ความจริงหรือเสียความเป็นธรรมอย่างไร แต่ทั้งนี้ต้องยื่นคำคัดค้านก่อนการสอบสวนเสร็จสิ้น


ให้รับคำคัดค้านตามวรรคหนึ่งส่งสำเนาคัดค้านด้านดังกล่าวแก่ประธานกรรมการมรรยาททนายความทันที และสำเนารวมไว้ในสำนวนการสอบสวนด้วย


 ให้คณะกรรมการสอบสวนงดการสอบสวนเมื่อได้รับคำคัดค้าน จนกว่าจะได้รับคำสั่งจากประธานกรรมการการมรรยาททนายความ




การพิจารณาคดีมรรยาททนายความ2546

ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า
ข้อ 2 ข้อบังคับนี้มีผลใช้บังคับเมื่อ
ข้อ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคับเดิม-พศ-2535
ข้อ 4 ให้นำ ป.วิ.แพ่ง มาใช้บังคับกับคดีมรรยาททนายความ
ข้อ 5 คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน
ข้อ 6 คณะกรรมการสอบสวนพ้นหน้าที่เมื่อคดีถึงที่สุด
ข้อ 7 กรรมการสอบสวนพ้นหน้าที่เมื่อตาย-ลาออก
ข้อ 8 เหตุคัดค้านกรรมการสอบสวน
ข้อ 10 ผู้พิจารณาคำคัดค้านและมีคำสั่ง
ข้อ 11 กรรมการสอบสวนที่มีเหตุถูกคัดค้าน
ข้อ 12 ผลของการพ้นหน้าที่กรรมการสอบสวน
ข้อ 13 หลักเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาในการสอบสวน
ข้อ 14 หลักเกณฑ์วิธีการทำคำกล่าว
ข้อ 15 วิธีการยื่นคำกล่าวหา
ข้อ 16 การตรวจสอบคำกล่าวหา
ข้อ 17 คำสั่งรับหรือไม่รับคำกล่าวหา
ข้อ 18 ให้ผู้ถูกกล่าวหายื่นคำแก้ข้อกล่าวหา
ข้อ 19 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อ 20 การส่งคำกล่าวหาโดยชอบแก่ทนายความ
ข้อ 21 การส่งสำเนาคำแก้ข้อกล่าวหา
ข้อ 22 ระยะเวลายื่นคำแก้ข้อกล่าวหาของทนายความ
ข้อ 23 เรียกประชุมกำหนดวันนัดพร้อม
ข้อ 24 กำหนดวันนัดสอบสวนพยาน
ข้อ 25 ผู้กล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวไม่มาในวันนัดพร้อม
ข้อ 26 คู่กรณีไม่มีพยานมาให้ทำการสอบสวน
ข้อ 27 ผู้กล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวหาถึงแก่ความตาย
ข้อ 28 กาสอบสวนของคณะกรรมการ
ข้อ 29 คำสั่งงดการสอบสวน
ข้อ 30 อำนาจรับฟังพยานหลักฐานอื่นได้
ข้อ 31 การซักถามพยานคดีมรรยาททนายความ
ข้อ 32 การสอบสวนและบันทึกถ้อยคำพยาน
ข้อ 33 เอกสารที่ใช้เป็นพยานหลักฐานให้ใช้ต้นฉบับ
ข้อ 34 พยานเอกสารซึ่งเป็นภาษาต่างประเทศ
ข้อ 35 คำโต้แย้งของผู้กล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าว
ข้อ 36 การสอบสวนพยานนอกเขตจังหวัด
ข้อ 37 การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวน
ข้อ 38 จ่ายค่าป่วยการแก่คณะกรรมการสอบสวน
ข้อ 39 การสอบสวนเสร็จแล้วให้นัดประชุม
ข้อ 40 องค์คณะในการสอบสวน
ข้อ 41 ไม่มาร่วมทำการสอบสวนติดต่อกันสองครั้ง
ข้อ 42 รายงานการสอบสวนต้องมีรายการตามที่กำหนด
ข้อ 43 การขยายระยะเวลา
ข้อ 44 กรรมการมรรยาททนายความตรวจสำนวน
ข้อ 45 คำร้องขอถอนคำกล่าวหา
ข้อ 46 คณะกรรมการมรรยาททนายความสั่งคดี
ข้อ 47 ให้คณะกรรมการมรรยาททนายส่งสำนวน
ข้อ 48 การพิจารณาของคณะกรรมการสภาทนายความ
ข้อ 49 สภาทนายความมีคำสั่งคดีและคืนสำนวน
ข้อ 50 แจ้งคำสั่งให้ผู้กล่าวหา-ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
ข้อ 51 บันทึกคดีถึงที่สุดไว้ในประวัติทนายความ
ข้อ 52 การอุทธรณ์คำสั่งถูกลงโทษในสามสิบวัน
ข้อ 53 อุทธรณ์ตามข้อ 52 ต้องทำเป็นหนังสือ
ข้อ 54 การยื่นอุทธรณ์คำสั่งอาจส่งทางไปรษณีย์
ข้อ 55 โต้แย้งคำสั่งไม่รับอุทธรณ์ภายใน 15 วัน
ข้อ 56 รับอุทธรณ์แล้วส่งให้สภานายกพิเศษ
ข้อ 57 สิทธิฟ้องศาลปกครองกรณีคำสั่งลงโทษ