ReadyPlanet.com
dot
ประมวลกฎหมาย
dot
bulletป.แพ่งและพาณิชย์
bulletพระราชบัญญัติ
bulletความรู้กฎหมาย
bulletสำนัก,ทนาย,ทนายความ
bulletแบบฟอร์มสัญญา
bulletปรึกษากฎหมาย
bulletวิชาชีพทนายความ
bulletข้อบังคับสภาทนายความ
bulletคำพิพากษาฎีกา
bulletเช่าซื้อขายฝากซื้อขาย
bulletเกี่ยวกับคดีอาญา
bulletเกี่ยวกับ วิ.แพ่ง
bulletคดีเกี่ยวกับวิ.อาญา
bulletคำพิพากษารวม
bulletครอบครองปรปักษ์
bulletการสิ้นสุดการสมรส
bulletการใช้กฎหมายอาญา
bulletคดียาเสพติดให้โทษ
dot
Newsletter

dot




มาตรา 1526 สิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพ

   -ปรึกษากฎหมาย

     ทนายลีนนท์ พงษ์ศิริสุวรรณ โทร.085-9604258

      ทนายเอกชัย อาชาโชติธรรม โทร.083-1378440

   -ปรึกษากฎหมายผ่านทางไลน์ ไอดีไลน์   

   (1) @leenont 

   (2) @peesirilaw  

   (3) 0859604258 เพิ่มด้วยหมายเลขโทรศัพท์

  -Line Official Account : เพิ่มเพื่อน QR CODE

 

มาตรา 1526  สิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพ

มาตรา 1526 ในคดีหย่า ถ้าเหตุแห่งการหย่าเป็นความผิดของคู่สมรส ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแต่ฝ่ายเดียว และการหย่านั้นจะทำให้อีกฝ่ายหนึ่งยากจนลง เพราะไม่มีรายได้พอจากทรัพย์สิน หรือจากการงานตามที่เคยทำอยู่ระหว่างสมรส อีกฝ่ายหนึ่งนั้นจะขอให้ฝ่ายที่ต้องรับผิดจ่ายค่าเลี้ยงชีพให้ได้ ค่า เลี้ยงชีพนี้ศาลอาจให้เพียงใดหรือไม่ให้ก็ได้ โดยคำนึงถึงความสามารถของผู้ให้และฐานะของผู้รับและให้นำบทบัญญัติ มาตรา 1598/39,มาตรา 1598/40 และ มาตรา 1598/41 มาใช้บังคับโดยอนุโลม

สิทธิเรียกร้องค่าเลี้ยงชีพเป็นอันสิ้นสุด ถ้ามิได้ฟ้องหรือฟ้องแย้งในคดี หย่านั้น

ฟ้องหย่าเรียกค่าเลี้ยงชีพ ค่าทดแทน แบ่งสินสมรส

การเรียกค่าเลี้ยงชีพนั้นต้องปรากฏว่าเมื่อการสมรสสิ้นสุดทำให้ฝ่ายที่มีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพยากจนลงศาลจะกำหนดให้โดยพิจารณาถึงฐานะผู้ให้และผู้รับ คดีนี้ภริยาลาออกจากงานมาช่วยสามีจึงถือว่าภริยามีสิทธิเรียกได้เดือนละ 20,000 บาท แต่เรียกได้นับแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษาไม่ใช่เรียกได้นับแต่วันฟ้อง และการเรียกร้องค่าเลี้ยงชีพนี้กฎหมายบอกว่าสิทธิเรียกร้องค่าเลี้ยงชีพเป็นอันสิ้นสุด ถ้ามิได้ฟ้องหรือฟ้องแย้งในคดีหย่านั้น

คำพิพากษาศาลฎีกาที่  8739/2551




แพ่งพาณิชย์เรียงมาตรา

มาตรา 5 การใช้สิทธิโดยไม่สุจริต
มาตรา 11 ตีความสัญญาในทางที่เป็นคุณ
มาตรา 62 คนสาบสูญตามคำสั่งศาล
มาตรา 73 ผู้แทนชั่วคราว
มาตรา 74 ประโยชน์ได้เสียขัดกัน
มาตรา 193/30 อายุความมีกำหนด 10 ปี
มาตรา 193/33 อายุความสิทธิเรียกร้อง
มาตรา 224 การไม่ชำระหนี้ | ดอกเบี้ยผิดนัด
มาตรา 291 ลูกหนี้ร่วม
มาตรา 391 คู่สัญญากลับสู่ฐานะเดิม
มาตรา 448 นับอายุความละเมิดเรียกค่าเสียหาย
มาตรา 499 สินไถ่ | ราคาขายฝาก
มาตรา 716 สิทธิจำนองแก่ตัวทรัพย์
มาตรา 722 สิทธิจำนองย่อมเป็นใหญ่กว่าภาระจำยอม
มาตรา 744 จำนองย่อมระงับสิ้นไป
มาตรา 806 ตัวการไม่เปิดเผยชื่อ-ร้องขัดทรัพย์
มาตรา 821 ตัวแทนเชิด
มาตรา 1015 เป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้ถือหุ้น
มาตรา 1336 การใช้กรรมสิทธิ-ติดตามเอาคืน
มาตรา 1361 เจ้าของกรรมสิทธิ์รวม
มาตรา 1381 เปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือเพื่อตน
มาตรา 1387 ภาระจำยอม
มาตรา 1395 ภาระจำยอมยังคงมีอยู่แก่ที่ดินแบ่งแยก
มาตรา 1480 เพิกถอนนิติกรรมโฉนดห้ามโอน 10 ปี
มาตรา 1480 เพิกถอนนิติกรรมขายฝาก
มาตรา 1480 ทำนิติกรรมปราศจากความยินยอมของคู่สมรส
มาตรา 1490 หนี้ที่สามีภริยาเป็นลูกหนี้ร่วม
มาตรา 1508 ขอเพิกถอนการสมรส
มาตรา 1541 ฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร | ผู้แจ้งการเกิด
มาตรา 1598/38 ค่าอุปการะเลี้ยงดู
มาตรา 1613 การสละมรดกแบบมีเงื่อนไข
มาตรา 1727 ถอนผู้จัดการมรดก
มาตรา 1733 การจัดการมรดกสิ้นสุดลง